วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Cloud Computing



Client-Server
- มุ่งเน้นการนำไปใช้งานได้เร็วและคล่องตัว ราคาถูก
- มีการซื้อลิขสิทธิ์แบบถาวร (perpetual license) ทั้ง OS & Applications
- ตัวเครื่องแม่ข่ายจะมีที่ตั้งแน่นอน
- ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องเป็นแบบ fixed-cost

Cloud Computing
- ศูนย์คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำงานเชื่อมโยงกับผู้ให้บริการจากที่ต่างๆ ขยายได้ไม่จำกัด โดยใช้ Hardware ที่ใช้งานแพร่หลายและเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่หลากหลาย
- ไม่มีสถานที่ตั้งแน่นอน
- ระบบทำงานออนไลน์
- การเชื่อมต่อทำงานแบบกริด (Server มากกว่า 1 เครื่องเชื่อมต่อกันผ่านระบบอินเทอร์เน็ต)
- ค่าใช้จ่ายคิดแบบ Usage (ทั้งจ่ายและไม่จ่ายเงิน)

Old idea: SaaS - Software as a Service
                 Delevering applications over the internet *ใช้งานผ่าน Internet, ไม่มีตัวตน
                 Hotmail, yahoo mail, gmail
                 docs.google.com
                 zoho.com (เหมือน google docs ทำงาน office ได้สมบูรณ์)

New idea: SaaS, IaaS, & PaaS:
                   Software as a Service
                   Infrastructure as a Service
                   Platform as a Service

ประเภทของ Cloud Computing แบ่งตามการให้บริการ
On Premises **ไทย
- Applications
- Data
- Runtime
- Middleware
- O/S
- Virtualization
- Servers
- Storage
- Networking
Infrastructure (as a Service)
- Applications
- Data
- Runtime
- Middleware
- O/S
- Virtualization
- Servers
- Storage
- Networking

Platform (as a Service)
- Applications
- Data
- Runtime
- Middleware
- O/S
- Virtualization
- Servers
- Storage
- Networking

Software (as a Service)
- Applications
- Data
- Runtime
- Middleware
- O/S
- Virtualization
- Servers
- Storage
- Networking

ประเภทของ Cloud Computing ตามความเป็นเจ้าของ
Public Cloud 
e.g. Dropbox
Private Cloud 
e.g. ม.หอการค้า ซื้อ gmail เพื่อให้บริการบุคลากรภายในโดยเฉพาะ, ม.รมศาสตร์ ใช้ Dropbox
Provider of Public Cloud 
Virtual Private Cloud

ประเด็นพิจารณา
- ช่องสัญญาณอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย
- ระบบเครือข่ายอิินเทอร์เน็ตขององค์กร
- ระบบรักษาความมั่นคงและความปลอดภัย **สำหรับ public cloud ควรสำรองข้อมูลเอง
  case study: IBM ไม่อนุญาตให้พนงานใช้สัญญาณโทรศัพท์ใดๆ ห้ามใช้ Dropbox, iCloud, Siri เพื่อป้องกันการรั่วไหลของข้อมูล และเพื่อป้องกันความคับคั่งของสัญญาณโทรศัพท์
- SLA: Service Level Agreement **ควรกำหนดให้มีความเข้มข้นสูง
- ความรู้ของบุคลากร
- ความพร้อมของบุคลากร
- กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

คุณสมบัติของระบบ
- ใช้ทรัพยากรร่วมกัน (Resource Pooling)
- เชื่อมต่อผ่านเครือข่าย (Network Access)
- บริการตนเองได้ (Self-Services)
- มีความยืดหยุ่่นในการใช้งาน (Elasticity) 
**เฉพาะ Cloud แบบ standard ซึ่งแตกต่างจาก G-Cloud ของไทยโดย สรอ. ซึ่งจะไม่มีความยืดหยุ่น
- มีการวัดการใช้ตามจริง (Measure Unit)

Cloud Computing กับห้องสมุด
- การปรับเปลี่ยนระบบ Web/Mail Hosting จาก Client-Server สู่ Cloud computing
- การเลือกใช้ Google Docs หรือบริการลักษณะเดียวกันแทนการจัดซื้อจัดหา Application Software
  **ห้องสมุดในไทยส่วนมากใช้ Google Form ทำแบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ
- การเลือกใช้ Web 2.0 Tools ที่เหมาะสมกับการบริการทรัพยากรสารสนเทศ
  e.g. Library Thing แคตตาลอกออนไลน์
  ตัวอย่าง Cloud computing กับการบริการของห้องสมุด
   - SaaS: Research Guide, Online References, Survey
   - PaaSP ILS
   - IaaSL: Website, Digital collections, Repository

Romanization
เนื่องจากภาษาไทยเป็นภาษาที่ไม่ได้ใช้อักษรโรมัน จึงมีความจำเป็นที่จะศึกษาแนวทางการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมัน เพื่อการสื่อสารกับชาวต่างชาติ หรือการสื่อสารในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษากลาง โดยเฉพาะในประเด็นที่เป็นชื่อเฉพาะ เช่น ชื่อบุคคล ชื่อสถานที่ ชื่อศิลปกรรม ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อเทคโนโลยี เป็นต้น นับว่าการถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันมีความสำคัญต่อการเผยแพร่วัฒนธรรมไทยและการถ่ายทอดเทคโนโลยีของไทยแก่ต่างประเทศ

การถอดอักษรไทยเป็นอักษรโรมันมี 2 วิธี คือ การถอดอักษรตามวิธีเขียน (Transliteration) และการถอดอักษรตามวิธีอ่าน หรือการถอดอักษรแบบถ่ายเสียง (Transcription) 
(Boonlert Aroonpiboon, 2012 : http://www.thailibrary.in.th/2012/01/11/romanization/) อ่านเพิ่มเติม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น