วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2555

Digital Rights Management



การจัดการสิทธิ์ดิจิทัล (Digital Rights Management - DRM)
เทคโนโลยีเพื่อควบคุมการเข้าถึงและการใช้งานข้อมูลดิจิทัลของผู้ใช้ โดยผู้สร้างสรรค์หรือเจ้าของสิทธิ์
- Hardware (วงการธุรกิจ)
- Software (วงการห้องสมุด)

ความเข้าใจผิด DRM คือ กระบวนการป้องกันการคัดลอก (Information Rights Management - IRM)


วันที่/เวลา

ควรมีการ sync ให้ตรงกับวันและเวลามาตรฐาน (GMT) เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองสิทธิ์ของผลงานดิจิทัล
- ดิจิทัล: ตั้ง PC Time กับ Time server แล้วนำเวลาที่ได้ไปใช้กับ digital camera, digital clock, digital devices เทียบกับสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (server: time1.nimt.or.th, time2.nimt.or.th, time3.nimt.or.th,)
- Analog: ตั้งเวลากับประกาศกรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ (ผ่านวิทยุ)

E-Book Software

กรณี FlipAlbum
เกี่ยวข้องกับ DRM ในขั้นตอการเผยแพร่ (การทำ CD) ใส่ DRM ในตัว media ที่จะเผยแพร่ โดยสามารถกำหนดการจำกัดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลได้โดยสามารถกำหนดค่าต่างๆได้ ดังนี้
- Password protect
- Expiration
- Encrypt
- Watermark
- Print & Save function

กรณี DesktTopAuthor

- DigitalWebBook Protection
  การจำกัดจำนวนหน้าที่สมารถเปิดอ่านได้
- Editable Image Protection
  Interactive E-Book สามารถเอาไฟล์รูปของตนเองไปแทนที่รูปภาพในเนื้อหา e.g. Portfolio โดยกำหนดจำนวนรูปที่สามารถแทนที่ได้
- eSellerate Settings
  ต้องชำระเงินเพื่อรับรหัส (username, password, ID, code) ในการปลดล็อก DRM (DRM+Digital Signature) **ในไทยยังไม่ค่อยมี

Digital Signature (Key)

- ID, Username, Password, Register Code 
- Encrypted file 
  e.g. MD5 generator (เทคโนโลยีการเข้ารหัส)

DRM/IRM ของ MS Office & PDF
- Function Restrict Permission, Add a Digital Signature เป็น DRM ที่ต้องจ่ายเงินให้แก่ Microsoft Office ก่อน รวมถึงต้องมี server ด้วย


  
- การสร้าง PDF ต้องใส่ DRM/IRM ด้วยเพื่อความปลอดภัย

Watermark ของภาพ

การทำ DRM รูปภาพที่ดีต้องมี watermark อยู่ทุกอณูของรูปภาพ เพื่อป้องกันการตัดแต่งรูปภาพ ใช้หลักการปรับ transparent เพื่อให้กลืนไปกับเนื้อภาพ และอ่านได้ด้วยการ decoding 
picture-shark.com (ใช้สำหรับการศึกษา)

สื่อดิจิทัล

ระบบการจัดการสิทธิ์ของผู้ใช้
- ผู้ใช้สามารถทำอะไรกับข้อมูลดิจิทัลได้อย่างไรบ้าง
- ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลดิจิทัลได้ที่ใด
- ผู้ใช้สามารถทำซ้ำ หรือทำสำเนาได้หรือไม่
  e.g. MP3




ประเด็นชวนคิด
การทำ DRM เพื่อสร้างเงื่อนไขแก่ผู้ใช้นั้นไม่ได้ผลทางธุรกิจที่น่าพอใจ เนื่องจาก DRM ทำให้ความต้องการซื้อของผู้ใช้ลดลง การจัดทำแบบเปิด (DRM Free) จึงเป็นทางออกที่ดีว่า โดยเน้นให้การตลาดแข่งขันกันเอง e.g. Warner Brothers, Kindle, Amazon



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น