วันอาทิตย์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2555

มาตรฐานการบริการ


28/8/12

มาตรฐานการบริการ - เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมคุณภาพในการบริการ โดยส่วนใหญ่จะมีการกำหนด 'มาตรฐานขั้นต่ำสุด' ในการควบคุมการบริการ

การควบคุมคุณภาพห้อสมุด
- มาตรฐานหอสมุด
- การประเมิน *ทำอย่างสม่ำเสมอ + มีแผนการประเมิน
- แบบทดสอบคุณภาพ e.g. LibQual, DigiQual
- การเทียบเคียงสมรรถนะ *ทำ benchmark, มีการเรียนรู้จากผู้อื่น (องค์กรอื่น) และนำมาพัฒนาใช้

หลักการของการกำหนดมาตรฐาน
หลักการที่ 1 หลักของการลดแบบและขนาด
หลักการที่ 2 หลักของการเห็นพ้องต้องกัน
หลักการที่ 3 ต้องมีการนำมาตรฐานไปใช้ปฏิบัติได้ (ทราบและนำไปใช้)
หลักการที่ 4 มาตรฐานต้องทันสมัยอยู่เสมอ
หลักการที่ 5 มาตรฐานต้องมข้อจำกัดที่จำเป็น
หลักการที่ 6 มาตรฐานควรมีการนำไปใช้อย่างเสรี (ไม่ออกแนวบังคับ แต่แสดงความเห็น+ตกลงกัน)

ความสำคัญ
ต่อการบริหาร, การดำเนินงาน, การบริการ
- สร้างคุณภาพการบริการ
- การควบคุมคุณภาพการบริการ
- ควบคุมกรรมวิธีดำเนินการได้อย่างถูกต้อง
- ช่วยลดความซ้ำซ้อนในการทำงาน
ฯลฯ
ต่อความสำเร็จ - บรรลุความสำเร็จสูงสุดตามข้อกำหนดที่วางไว้

ประโยชน์
1. ประโยชน์ในการใช้ร่วมกัน สร้างความเข้าใจที่ตรงกัน
2. ด้านการจัดองค์การ/โครงสร้างการบริหารให้มีความชัดเจน
3. ใช้ในการควบคุมคุณภาพ
    - ผลผลิต ความปลอดภัย และกรรมวิธีดำเนินการ
    - ด้านคุณภาพการบริการ
    - ด้านการบริหารบุคคล
    - การประเมินผล *เทียบมาตรฐาน และตรวจสอบคุณภาพภายใน
4. ใช้ในการวางแผน

ระดับ
1. ระดับบุคคล
2. ระดับบริษัท
3. ระดับสมาคม
4. ระดับประเทศ

การจำแนกมาตรฐานห้องสมุด
1. มาตรฐานห้องสมุดโดยรวม
2. มาตรฐานห้องสมุดแต่ละประเภท
3. มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานห้องสมุดโดยตรง
4. มาตรฐานที่เกี่ยวข้องและนำมาใช้ในห้องสมุด


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น